Next time Intavichayanon the prince of Chiangmai (that time this rank just like the king of Chiangmai)
reign number 7
th (2412–2440 BE.) The father of the consort of princess Dararasamee (2416–2476 BE.) ordered
to pulled down the resident of Mahotaraprathet the prince of Chiangmai reign no.5(2390 – 2397 BE.) to built this
Vihan by tradition of northern. It’s finished and cerebrated at 2429 BE. Now it’s the only vihan from the resident
of prince is that still perfect in the northern
ประวัติความเป็นมาของหอคำพระเจ้ามโหตรประเทศ 1
เดิมทีหอคำ ประดิษฐานอยู่ที่พระตำหนักเวียงแก้ว อันเป็นบริเวณเยื้องทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือศาลากลางเก่า หรืออนุสาวรีย์สามกษัตริย์
ตรงเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่ ไปจนถึงวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่อยู่ในขณะนี้ ตามตำนานเรื่องเล่าเกี่ยวกับหอคำหลังนี้ พระยาอุปราชมหาวงศ์
ได้สร้างขึ้นถวายเป็นพุทธบูชา เมื่อจุลศักราช 1209 ตรงกับ พ.ศ. 2390 เนื่อง จากท่านได้เลื่อนฐานันดรศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่จากพระยาอุปราชขึ้นเป็นพระยาเชียงใหม่
ท่านได้สร้างหอคำขึ้นไว้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป อันเป็นปูชนียวัตถุล้ำค่าภายในที่อยู่ของท่าน ท่านได้ทำการฉลองอย่างเอิกเกริก อนึ่งในการสร้างหอคำหลังนี้
เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้ใช้ช่างพื้นเมือง และช่างพม่าผสมกัน ต่อมาพระยาเชียงใหม่มหาวงศ์ ได้รับพระราชทานเลื่อนฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นเจ้า มีพระนามในสุพรรณบัฏว่า
พระเจ้ามโหตรประเทศราชาธิบดินทร์นพีสิทรมหานคราธิษฐาน ใน พ.ศ. 2396พอได้รับพระราชทานธานันดรศักดิ์ได้ไม่กี่เดือนก็ถึงแก่พิราลัย
เมื่อ พระเจ้ามโหตรประเทศฯพิราลัยแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงเทพมหานคร ทรงแต่งตั้งให้นายสุริยวงศ์
บุตรของพระเจ้าบรมราชาธิบดี(กาวิละ)ขึ้นเป็นเจ้าครองนครเชียงใหม่ลำดับที่ 6 ต่อจากพระเจ้ามโหตรประเทศฯ พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
ทรงดำรงตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่มาได้ 16 ปีเศษ พิราลัยเมื่อ พ.ศ. 2413 เจ้าอุปราชอินทนนท์ รักษาการในตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่มาร่วม 3 ปี
จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระเจ้าอินทรวิชยานนท์พหลเทพภักดีฯ เจ้าครองนครเชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 2416 กาลเวลาล่วงเลย มาถึง พ.ศ. 2416 พระ เจ้าอินทวิชยานนท์
ทรงมีพระราชดำริว่า หอคำของพระเจ้ามโหตรประเทศฯนั้น สมควรจะอยู่ในวัดมากกว่าอยู่ในวัง จึงทรงบัญชาให้ช่างช่วยกันรื้อหอคำ (หอคำ วัง หรือท้องพระโรงหน้า
ของเจ้านครเชียงใหม่ เช่นเดียวกับวังหรือท้องพระโรงของเจ้านายทางภาคกลาง) หอคำหลังนี้ได้ย้ายมาปลูกสร้างขึ้นใหม่ ณ วัดพันเตา หรือวัดปันเต้า เมื่อวันเสาร์ เดือน 10 ขึ้น 8 ค่ำ ปก
(ยกเสา)วิหาร หรือ วัดปันเต้ากลางเวียงเชียงใหม่ เพราะในขณะนั้นเจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่กำลังทรงปฏิสังขรณ์วัดหอธรรม วัดเจดีย์หลวง วัดสุขมิ้นอยู่แล้ว การก่อสร้างวิหารของ
พระอารามทั้งสามแห่งกับหอคำของ สำเร็จบริบูรณ์ ลงในพ.ศ.2429 ทำการฉลองพร้อมกันทั้ง 4 แห่ง เมื่อวันอาทิตย์
History about the resident of Mahotarapratet
Before pulled down and turn to be vihan. This resident use to set north west obliquely to the old city hall
(now at The tree kings monument) this resident Mahawong viceroy (Mahotarapratet) built for celebrated
the promoted to be the king reign no.5 use craftsman from northern and burma. After be the king
a few months he turn to die. Next time the king rama4 of Siam ordered Suriyawong prince son of Kavila
(the king of chiangmai reign number 1
st.) to be the king of Chiangmai reign number 6
th named
Kavilorojsuriyawong prince. He be a king for 16 years and die at 2413 BE. After his die for 3 years
the viceroy Intavichayanon had been ordered be the prince of Chiangmai at 2416 BE. He thought
this resident should sat in the temple so he ordered to move the resident to be vihan in Puntao temple.