สมัยก่อนบ้านเกาะยังไม่มีสถานที่ทำบุญปฏิบัติธรรมทางศาสนาที่แน่นอน คนเฒ่าคนแก่ก็จะไปทำบุญตามวัดที่อยู่ใกล้เคียง สมัยนั้นการสัญจรไปมาลำบากส่วนมากจะถูกน้ำท่วมในช่วงหน้าฝน คนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้านจึงได้ปรึกษากัน เพื่อที่จะขอตั้งวัดให้มีในหมู่บ้าน จึงได้ปรึกษากับท่านพระครูปัญญาวิเชียร ในการที่จะมีวัดประจำหมู่บ้าน ท่านพระพระครูฯ พิจารณาแล้วจึงได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด เพื่อทำการเดินเรื่องขออนุมัติจากทางคณะสงฆ์อำเภอแม่ริม การที่จะตั้งวัดในหมู่บ้าน ต้องได้รับการอนุมัติจากทางคณะสงฆ์ก่อนแต่ต้องมีเนื้อที่ ตั้งแต่ 6 ไร่ขึ้นไป จึงจะตั้งวัดได้ แต่ทางวัดมีที่ดินสาธารณะประโยชน์ในหมู่บ้าน 3 งาน ที่ดินบริจาคอีก 3ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา รวมเนื้อที่ 4 ไร่ 22 งาน 22 ตารางวา จึงไม่สามารถจะจัดตั้งวัดได้ แต่อนุญาตให้เป็นสำนักสงฆ์ได้ ทางพระพระครูปัญญาวิเชียร ได้นำชาวบ้านทั้งหมดมาปรึกษาและวางแผนการดำเนินงาน โดยตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเริ่มก่อตั้ง ดังนี้ 1. พระครูปัญญาวิเชียร ประธาน 2.นายเบี้ยว เสียงดัง ผู้ใหญ่บ้าน 3. นายสาย ชมภู ผช.ผญบ 4.นายคำปัน จอกคง ผช.ผญบ.5.พ่อหนานทา ตาเขียว มัคคทายก6.นายปวน โถมูล 7.นายอ้าย ชุ่มใจ 8.นายตื้อ คำผาย 9.นายมี ลานคำ10.นายปั๋น จอกคง11.นายเรือน บุญธรรม 12.นายรัตน์ ทองนาค 13.นายถา ตุ่มคำ 14.นายสอน ลานคำ15.นายพล หอมอบ 16.นายแก้ว ชุ่มใจ 17.นายต๋า เกิดแก้ว เมื่อแต่งตั้งกรรมการแล้วจึงได้เริ่มดำเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2529 ณ ที่ดินสาธารณะในหมู่บ้าน โดยได้ทำการรับบริจาคจตุปัจจัยจากศรัทธาสาธุชนทั่วไปเป็นทุนเดิม จำนวน 65,000 บาท ทำการก่อสร้างดังต่อไปนี้ 1. วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม 2529 ทำการปรับพื้นที่ สร้างศาลาบำเพ็ญบุญขึ้น 1 หลัง ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร ลักษณะทรงไทย พร้อมกับสร้างกุฏิไม้ไผ่อีก 1 หลัง มุงด้วยใบตอง และห้องน้ำ สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 65,000 บาท 2. วันที่ 18 มกราคม 2530 ทำการก่อสร้างกุฏิสามเณรแบบ 2 ชั้นครึ่งตึกครึ่งไม้ ขึ้น 1 หลัง สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 85,000 บาท 3. วันที่ 18 มกราคม 2531 สร้างศาลาบาตรขึ้น 1 หลัง ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร สิ้นทุนทรัพย์จำนวน 78,000บาท 4. วันที่ 18 มกราคม 2532 สร้างกำแพงล้อมรอบ 4 ด้าน สิ้นทุน 170,000 บาท 5. วันที่ 18 มกราคม 2533 ทอดกฐินผ้าป่าซื้อที่ดินเพิ่มอีก สิ้นทุน 890,000 บาท 6. วันที่ 18 มกราคม 2534 สร้างศาลาบาตร แบบทรงไทยประยุกต์ ขึ้น 1 หลัง กว้าง 7 เมตร ยาว 25 เมตร สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 397,000 บาท 7. วันที่ 18 มกราคม 2537 สร้างวิหารแบบทรงไทยประยุกต์ล้านนา 2 ชั้น กว้าง 8 เมตร ยาว 21 เมตร สิ้นทุนไปแล้ว 9 ล้านกว่า บาท และได้วาดภาพเน้นศิลปะลายเส้น จำนวน 60 ภาพ อันประกอบไปด้วยเรื่องราว 1.พระเวสันดร ๑๓ กัณฑ์ 2.ทศชาติ ๑๐ ชาติ 3.พาหุง ๙ ภาพ 4.ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพาน 5.พระธาตุประจำปีเกิด ๑๒ ราศี และเทวดาประจำชาติ 6.นรกภูมิ (กรณีผิดศีล ๕) เป็นต้น ปัจจุบัน สำนักสงฆ์ร่มไทรคำ มีพระ สมัยก่อนบ้านเกาะยังไม่มีสถานที่ทำบุญปฏิบัติธรรมทางศาสนาที่แน่นอน คนเฒ่าคนแก่ก็จะไปทำบุญตามวัดที่อยู่ใกล้เคียง สมัยนั้นการสัญจรไปมาลำบากส่วนมากจะถูกน้ำท่วมในช่วงหน้าฝน คนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้านจึงได้ปรึกษากัน เพื่อที่จะขอตั้งวัดให้มีในหมู่บ้าน จึงได้ปรึกษากับท่านพระครูปัญญาวิเชียร ในการที่จะมีวัดประจำหมู่บ้าน ท่านพระพระครูฯ พิจารณาแล้วจึงได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด เพื่อทำการเดินเรื่องขออนุมัติจากทางคณะสงฆ์อำเภอแม่ริม การที่จะตั้งวัดในหมู่บ้าน ต้องได้รับการอนุมัติจากทางคณะสงฆ์ก่อนแต่ต้องมีเนื้อที่ ตั้งแต่ 6 ไร่ขึ้นไป จึงจะตั้งวัดได้ แต่ทางวัดมีที่ดินสาธารณะประโยชน์ในหมู่บ้าน 3 งาน ที่ดินบริจาคอีก 3ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา รวมเนื้อที่ 4 ไร่ 22 งาน 22 ตารางวา จึงไม่สามารถจะจัดตั้งวัดได้ แต่อนุญาตให้เป็นสำนักสงฆ์ได้ ทางพระพระครูปัญญาวิเชียร ได้นำชาวบ้านทั้งหมดมาปรึกษาและวางแผนการดำเนินงาน โดยตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเริ่มก่อตั้ง ดังนี้ 1. พระครูปัญญาวิเชียร ประธาน 2.นายเบี้ยว เสียงดัง ผู้ใหญ่บ้าน 3. นายสาย ชมภู ผช.ผญบ 4.นายคำปัน จอกคง ผช.ผญบ.5.พ่อหนานทา ตาเขียว มัคคทายก6.นายปวน โถมูล 7.นายอ้าย ชุ่มใจ 8.นายตื้อ คำผาย 9.นายมี ลานคำ10.นายปั๋น จอกคง11.นายเรือน บุญธรรม 12.นายรัตน์ ทองนาค 13.นายถา ตุ่มคำ 14.นายสอน ลานคำ15.นายพล หอมอบ 16.นายแก้ว ชุ่มใจ 17.นายต๋า เกิดแก้ว เมื่อแต่งตั้งกรรมการแล้วจึงได้เริ่มดำเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2529 ณ ที่ดินสาธารณะในหมู่บ้าน โดยได้ทำการรับบริจาคจตุปัจจัยจากศรัทธาสาธุชนทั่วไปเป็นทุนเดิม จำนวน 65,000 บาท ทำการก่อสร้างดังต่อไปนี้ 1. วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม 2529 ทำการปรับพื้นที่ สร้างศาลาบำเพ็ญบุญขึ้น 1 หลัง ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร ลักษณะทรงไทย พร้อมกับสร้างกุฏิไม้ไผ่อีก 1 หลัง มุงด้วยใบตอง และห้องน้ำ สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 65,000 บาท 2. วันที่ 18 มกราคม 2530 ทำการก่อสร้างกุฏิสามเณรแบบ 2 ชั้นครึ่งตึกครึ่งไม้ ขึ้น 1 หลัง สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 85,000 บาท 3. วันที่ 18 มกราคม 2531 สร้างศาลาบาตรขึ้น 1 หลัง ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร สิ้นทุนทรัพย์จำนวน 78,000บาท 4. วันที่ 18 มกราคม 2532 สร้างกำแพงล้อมรอบ 4 ด้าน สิ้นทุน 170,000 บาท 5. วันที่ 18 มกราคม 2533 ทอดกฐินผ้าป่าซื้อที่ดินเพิ่มอีก สิ้นทุน 890,000 บาท 6. วันที่ 18 มกราคม 2534 สร้างศาลาบาตร แบบทรงไทยประยุกต์ ขึ้น 1 หลัง กว้าง 7 เมตร ยาว 25 เมตร สิ้นทุนทรัพย์ จำนวน 397,000 บาท 7. วันที่ 18 มกราคม 2537 สร้างวิหารแบบทรงไทยประยุกต์ล้านนา 2 ชั้น กว้าง 8 เมตร ยาว 21 เมตร สิ้นทุนไปแล้ว 9 ล้านกว่า บาท และได้วาดภาพเน้นศิลปะลายเส้น จำนวน 60 ภาพ อันประกอบไปด้วยเรื่องราว 1.พระเวสันดร ๑๓ กัณฑ์ 2.ทศชาติ ๑๐ ชาติ 3.พาหุง ๙ 2 รูป สามเณร 3 รูป มีศรัทธาประชาชนอุปถัมภ์ จำนวน 114 หลังคาเรือน ประชากรประมาณ 500 กว่าคน
• ได้รับอนุญาตให้สร้าง เมื่อวันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2526