บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ราษฎรในหมู่บ้าน จะพูดภาษาสำเนียง “หลวย” หรือ “ลื้อ” ประมาณ ๙๗ % เพราะเป็นกลุ่มชนที่มีชาติกำเนิดอยู่ที่ “เมืองหลวย” “เมืองยอง” “แคว้นสิบสองปันนา” ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (พม่า) แล้วมีการอพยพถิ่นฐาน มาอยู่ที่บ้านหลวยและบ้านเวียงยอง ใกล้กับตัวเมืองของลำพูนในปัจจุบัน
ครั้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๔ แคว้นหริภุญชัยเป็นยุคที่เกิด ศึกสงครามกลางเมือง คือ มีเจ้าผู้ครองเขลางค์นคร (ลำปาง) ได้ยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัย และสามารถยึดเมืองได้ สมัยนั้นพระยายีบา เป็นผู้ครองนครหริภุญชัย ราษฎรจึงได้อพยพหนีภัย ข้าศึกไปคนละทิศละทาง มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง ประมาณ ๓ ครอบครัว มีนายแสน ทนันท์ชัย เป็นหัวหน้า ได้หนีออกมาทางทิศตะวันออกของเมืองหริภุญชัย ผ่านมาทางบ้านจำบอน บ้านจำขี้มด แล้วขึ้นมาตามลำห้วยแม่สาร เป็นเวลา ๒ คืน มาโผล่ที่ “ขุนห้วยชมภู” (บ้านทาชมภู) ปัจจุบัน แล้วล่องมาตามลำห้วยในที่สุด ก็ได้ตั้งรกรากครั้งแรกที่ สบห้วยชมภู เพราะเห็นว่าเป็นทำเลที่ดี มีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์นั้นก็คือ “ลำน้ำแม่ทา” ในปัจจุบันนี้นั้นเอง ต่อมา นายแสน ทนันท์ชัย ได้อพยพครอบครัวลงมาที่ทางใต้ห่างจากสบห้วยชมภู มาประมาณ ๓ ก.ม. ครั้นตั้งบ้านเป็นหลักเป็นแหล่งดีแล้ว ได้มีญาติพี่น้องที่ยังอยู่ที่บ้านหลวยได้ทราบข่าว จึงได้อพยพครอบครัวตามมาด้วยอีก ๒๔ ครอบครัว ปัจจุบัน จุดที่ตั้งหมู่บ้านในตอนนี้คือ “ทุ่งบ้านห่าง” ในปัจจุบัน ซึ่งยังมีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่ ทุ่งบ้านห่าง เป็นซากปรักหักพังมีอยู่ให้เห็นอยู่ แล้วจึงมีการเคลื่อนย้ายครั้งสุดท้ายมาอยู่ที่ “บ้านทาปลาดุก” ในปัจจุบัน ตามที่ปรากฏให้เห็น สาเหตุของการเคลื่อนย้าย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าให้ฟังว่ามีสาเหตุ ๒ ประการ
ประการที่ ๑ ได้เริ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านอยู่กับนายแสน ทนันท์ชัย พร้อมกับได้ก่อตั้งอาราม เป็นเวลา ๑๕ ปี มีโจรเงี้ยวมาปล้นบ้านนายคำ ลูกชายนายแสน และได้ถูกฆ่าตาย โดยโจร (ผู้ไปบุกเบิกที่นายังผมเส้นผมอยู่)
ประการที่ ๒ เริ่มตั้งหมู่บ้านได้ ๒ ปี ได้เกิดมีไฟป่าเผาไหม้หมู่บ้านและอาราม จึงทำให้นายแสน ทนันท์ชัย ได้พาญาติพี่น้องย้ายมาจากทุ่งบ้านห่าง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านทาปลาดุกในปัจจุบัน (เดิมเรียกสถานที่นี้กันว่า “บ้านป่าม่วง”)
สาเหตุที่ตั้งชื่อว่า “บ้านทาปลาดุก” เพราะว่า เป็นสบห้วย ที่มีปลาดุกชุกชุม จุดที่ตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น อยู่ที่บริเวณหน้าวัดทาปลาดุกในปัจจุบัน แต่เดิมเรียกกันว่า “บ้านป่าม่วง” ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีเตาสัน (ปีวอก) ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ พอตั้งถิ่นฐานได้มั่นคงดีแล้วจึงได้สร้างอารามกันขึ้น
เมื่อเดือน ๖ ออก ๘ ค่ำ วันเสาร์ ปีจอ ปีพุทธศักราช ๒๒๓๓ ได้ตั้งชื่อแรกว่า “วัดศรีชุม” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “วัดทาปลาดุก” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้นิมนต์
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๑ “พระสุระ นันทภิกขุ” จากบ้านหลวย มาเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ท่านได้จำพรรษาอยู่เป็นเวลา ๑๗ ปี ก็ได้มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๒ คือ ครูบาปุระ ท่านจำพรรษาอยู่ได้ ๘ ปีก็มรณภาพ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๓ คือ ครูบากุณณะ
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๔ คือ ครูบาหนังแรด
เจ้าอาวาสองค์ที่ ๕ คือ ครูบาสุยะ (อหํ สุยะวรณฺโญ) ท่านเป็นนักพัฒนา ผู้มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย เป็นผู้ทรงความรู้ทั้งภาษาบาลีและพระธรรมวินัย เป็นพระนักเทศน์มหาชาติที่มีชื่อเสียง และเป็นที่โปรดปรานของเจ้าจักรคำคณาธร เจ้าจักรคำคณาธรมักจะนิมนต์ท่านให้ไปเทศน์มหาชาติโปรดญาติโยมที่ในเมืองลำพูนเสมอ ครั้งหนึ่งเจ้าจักรคำคณาธรได้ถวายพระสิงห์หนึ่ง ติดกัณฑ์เทศน์ให้ท่านครูบาสุยะ อันเป็นศาสนสมบัติที่ล้ำค่าของวัดทาปลาดุก และ ชาวบ้านทาปลาดุก ได้ช่วยกันห่วงแหนและดูแลรักษาเป็นอย่างดียิ่งในปัจจุบัน ท่านยังได้สร้างวิหารใหญ่โดยใช้เสาใหญ่ไม้สักทอง ลงรักปิดทอง อาสนะสงฆ์ ธรรมมาสติดแก้วงามเลิศ ท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปแกะสลักจากไม้สักทอง โดยมีเจ้าภาพ คือ พ่อน้อยอ้าย แม่หลวงอุสา ได้สร้างไว้เพื่อเป็นพระประธานในวิหารวัดทาปลาดุก ปัจจุบันได้เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดทาปลาดุกเพื่อให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ช่วยกันดูแลรักษา และ ศึกษาต่อไป
เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖ รวมเป็นเวลา ๓๒๓ ปี
บ้านทาปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่เป็นต้นกำเนิดของชื่อตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดล
• ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2416
• ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2491